ตัวชี้วัดกลุ่มการพยาบาล

 
             
 
ลำดับ
เครื่องชี้วัดคุณภาพที่สำคัญของหน่วยงาน
เป้าหมาย
หน่วยนับ
ความถี่
ในการประเมิน
ผู้รับผิดชอบ
1

อัตราความสมบูรณ์ของบันทึกทางการพยาบาล

65

ร้อยละ

6 เดือน

LR/WARD/ER
OR/OPD

2

อัตราการติดเชื้อในโรงพยาบาล

0

ร้อยละ

1 เดือน

รัชฎาลักษณ์
ทีม IC

3
จำนวนหน่วยบริการพยาบาลที่มีผลิตภาพ (Productivity) ตามเกณฑ์
80

ร้อยละ

6 เดือน

หน.ฝ่ายการพยาบาล
4

จำนวนหน่วยบริการพยาบาลมีระบบประกันคุณภาพทางการพยาบาล

80

ร้อยละ

6 เดือน

หน.ฝ่ายการพยาบาล
หัวหน้า OPD/ER/LR
WARD/OR/IC

5
อัตราของบุคลากรทางการพยาบาลผ่านเกณฑ์การประเมินสมรรถนะ
( Core-competency )
80

ร้อยละ

6 เดือน

หน.ฝ่ายการพยาบาล
6

อัตราของบุคลากรที่ได้รับการประเมิน Functional ผ่านเกณฑ์การประเมินตามเกณฑ์ ที่กำหนด

80

ร้อยละ

6 เดือน

LR/ER/WARD

 
               
 

ตัวชี้วัดงานผู้ป่วยนอก

 
               
 
ลำดับ
เครื่องชี้วัดคุณภาพที่สำคัญของหน่วยงาน
เป้าหมาย
หน่วยนับ
ความถี่
ในการประเมิน
ผู้รับผิดชอบ
1
ร้อยละของผู้ใช้บริการได้รับการส่งตรวจถูกห้องตรวจตามประเภท
/ความรุนแรงของอาการ
100

ร้อยละ

1 ปี

นส.ภัทรพรรณ  รามศิริ
นส.ประทุมพร  มณีจร

2
จำนวนอุบัติการณ์การ การระบุตัวผู้ใช้บริการผิดคน
0

ร้อยละ

1 ปี
นส.ภัทรพรรณ  รามศิริ
3
จำนวนอุบัติการณ์การเกิดภาวะแทรกซ้อนที่ป้องกันได้ของผู้ใช้บริการที่อาการไม่คงที่ หรือเสี่ยงต่อการเกิดการรุนแรงเฉียบพลัน
0

ร้อยละ

1 ปี
นส.ประทุมพร  มณีจร
4
จำนวนข้อร้องเรียนเกี่ยวกับการละเมิดสิทธิของผู้ใช้บริการ
0

ร้อยละ

1 ปี
นส.ภัทรพรรณ  รามศิริ
นส.ประทุมพร  มณีจร
5
ร้อยละของการแก้ไขและหรือ  การตอบกลับข้อร้องเรียนของผู้ใช้บริการ
100

ร้อยละ

1 เดือน
นส.ภัทรพรรณ  รามศิริ
นส.ประทุมพร  มณีจร
6
ร้อยละของความพึงพอใจต่อการให้บริการแผนกผู้ป่วยนอก
85
ร้อยละ
6 เดือน
นส.ภัทรพรรณ  รามศิริ
นส.ประทุมพร  มณีจร
7
ความคลาดเคลื่อนทางยาผู้ป่วยนอกระดับ c-d
ไม่เกิน 5
1000 ใบสั่งยา
1 เดือน
นส.ภัทรพรรณ  รามศิริ
นส.ประทุมพร  มณีจร
8
ร้อยละของผู้ป่วยโรคเรื้อรังได้รับการส่งต่อเพื่อการดูแลต่อเนื่อง
100
ร้อยละ
1 ปี
นส.ภัทรพรรณ  รามศิริ
นส.ประทุมพร  มณีจร
 
               
 

ตัวชี้วัดงานอุบัติเหตุและฉุกเฉิน

 
               
 
ลำดับ
เครื่องชี้วัดคุณภาพที่สำคัญของหน่วยงาน
เป้าหมาย
หน่วยนับ
ความถี่
ในการประเมิน
ผู้รับผิดชอบ
1

ผู้ป่วยฉุกเฉินมากได้รับการแก้ไขภาวะคุกคามชีวิตภายใน 4 นาที

100

ร้อยละ

ทุกเดือน

หน.งานอุบัติเหตุและฉุกเฉิน

2

อุบัติการณ์การกลับมารักษาซ้ำด้วยอาการหรือโรคเดิมภายใน 48 ชั่วโมง

20

ร้อยละ

ทุกเดือน

หน.งานอุบัติเหตุและฉุกเฉิน

3
ร้อยละของการตายอย่างไม่คาดคิด (Un unexpected dead)
0

ร้อยละ

ทุกเดือน

หน.งานอุบัติเหตุและฉุกเฉิน

4
ร้อยละของการตรวจรักษาผิดพลาดของพยาบาล
( จากการตรวจโดยบุคลากรที่ชำนาญกว่า )
20

ร้อยละ

ทุกเดือน

หน.งานอุบัติเหตุและฉุกเฉิน

5
ร้อยละของผู้ป่วยได้รับอุบัติเหตุขณะอยู่ในความดูแล
0

ร้อยละ

ทุกเดือน

หน.งานอุบัติเหตุและฉุกเฉิน

6

ร้อยละของบุคลากรได้รับการอบรมฟื้นฟูทักษะการช่วยฟื้นคืนชีพขั้นพื้นฐาน
อย่างน้อย 1 ครั้ง/คน/ปี

100

ร้อยละ
ทุกเดือน

หน.งานอุบัติเหตุและฉุกเฉิน

7
ร้อยละของบุคลากรได้รับการซ้อมแผนอุบัติเหตุและอุบัติภัยหมู่

100

ร้อยละ
ปีละ 1 ครั้ง

หน.งานอุบัติเหตุและฉุกเฉิน

 
               
 

ตัวชี้วัดงานผู้ป่วยใน

 
               
 
ลำดับ
เครื่องชี้วัดคุณภาพที่สำคัญของหน่วยงาน
เป้าหมาย
หน่วยนับ
ความถี่
ในการประเมิน
ผู้รับผิดชอบ
1

อัตราการเกิดแผลกดทับระดับ 2-4 ของผู้ป่วยที่นอนรักษาในโรงพยาบาล

 

ร้อยละ

ทุกเดือน
รัชฎาลักษณ์
2

อัตราการเกิดหลอดเลือดดำอักเสบจาก การให้สารน้ำทางหลอดเลือดดำ ( Phlebitis )

 

ร้อยละ

ทุกเดือน
รัชฎาลักษณ์
3
จำนวนอุบัติการณ์ความผิดพลาดในการให้เลือดและส่วนประกอบของเลือด

0

ร้อยละ

ทุกเดือน

สุภาวดี

4
อัตราความพึงพอใจของผู้ป่วยใน
> 80%

ร้อยละ

ทุกเดือน

สุภาวดี

5

อัตราความสมบูรณ์ของเวชระเบียนผู้ป่วยใน

> 65%

ร้อยละ

ทุกเดือน

รัชฎาลักษณ์,
สุภาวดี

 
               
 

ตัวชี้วัดงานห้องคลอด

 
               
 
ลำดับ
เครื่องชี้วัดคุณภาพที่สำคัญของหน่วยงาน
เป้าหมาย
หน่วยนับ
ความถี่
ในการประเมิน
ผู้รับผิดชอบ
1
อัตรา การเกิดภาวะ Birth Asphyxia

30

ต่อพันเกิดมีชีพ

ทุกเดือน

อมรลักษณ์  อุ่นเรือน

2
อัตราการตกเลือดหลังคลอดจากการคลอดทางช่องคลอด

5

ร้อยละ

ทุกเดือน

อมรลักษณ์  อุ่นเรือน

3
อัตราการติดเชื้อของแผลฝีเย็บ

5

ร้อยละ

ทุกเดือน

อมรลักษณ์  อุ่นเรือน

4
อัตราการคัดกรองภาวะพร่อง ธัยรอยด์ฮอร์โมน ในทารกแรกเกิด
100

ร้อยละ

ทุกเดือน

อมรลักษณ์  อุ่นเรือน

5
อัตราทารกแรกเกิดน้ำหนักน้อย Low Birth Weight Rate
20
ร้อยละ
ทุกเดือน

อมรลักษณ์  อุ่นเรือน

6
อัตราตายปริกำเนิด  Perinatal Mortality rate
9
ต่อพันเกิดมีชีพ
ทุกเดือน

อมรลักษณ์  อุ่นเรือน

7
อัตราส่วนการตายของมารดาต่อการเกิดมีชีพแสนคน  Maternal Mortality Ratio / MMR
18
ต่อพันเกิดมีชีพ
ทุกเดือน

อมรลักษณ์  อุ่นเรือน

8
อัตราการติดเชื้อในทารก

5

ร้อยละ
ทุกเดือน

อมรลักษณ์  อุ่นเรือน

9
อัตราการคลอดที่ห้องรอคลอด
0
ร้อยละ
ทุกเดือน

อมรลักษณ์  อุ่นเรือน

10
อัตราความพึงพอใจของผู้ป่วยต่อการให้บริการ
80

ร้อยละ

6 เดือน/ครั้ง

อมรลักษณ์  อุ่นเรือน

 
               
 

ตัวชี้วัดงานห้องผ่าตัด

 
               
 
ลำดับ
เครื่องชี้วัดคุณภาพที่สำคัญของหน่วยงาน
เป้าหมาย
หน่วยนับ
ความถี่
ในการประเมิน
ผู้รับผิดชอบ
1
ร้อยละของผู้ป่วยได้รับการเยี่ยมก่อนและหลังผ่าตัด
80

ร้อยละ

ทุกเดือน
นส.รดาณัฐ  ซอสียง
2
อัตราการติดเชื้อแผลผ่าตัด
0.5

ร้อยละ

ทุกเดือน
นส.รดาณัฐ  ซอสียง
3
อัตราตายระหว่างผ่าตัด
0

ร้อยละ

ทุกเดือน
นส.รดาณัฐ  ซอสียง
4
อุบัติการณ์การเกิดสิ่งตกค้างในการผ่าตัด
0

ร้อยละ

ทุกเดือน
นส.รดาณัฐ  ซอสียง
 
               
:: Copyright ©2010 โรงพยาบาลเฉลิมพระเกียรติ จ.น่าน เบอร์โทรศัพท์ 054-693548 โทรสาร 054-693549 ::